กรณีศึกษาการทรานส์ฟอร์มธุรกิจ จาก “ธนาคารไทยพาณิชย์” เป็น “SCBX”

การทรานส์ฟอร์มของ SCB สะท้อนให้เห็นภาพของธุรกิจการเงินในอนาคต ที่จะแข่งกันบนกฎเกณฑ์และสิ่งแวดล้อมแบบใหม่ ทิ้งรากเง้าของธุรกิจธนาคารพาณิชย์ จนไม่เหลือภาพจำแบบเดิมๆ อีกต่อไป โดยมีเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อน

การทรานส์ฟอร์มธุรกิจของธนาคารไทยพาณิชย์ ด้วยโครงสร้างใหม่นี้ แบ่งรูปแบบของธุรกิจได้เป็น 2 ส่วนหลัก ๆ ก็คือ 

ส่วนที่ 1 : ธุรกิจ Cash Cow ซึ่งก็คือ ธุรกิจธนาคาร ธุรกิจประกัน

ส่วนที่ 2 : ธุรกิจ New Growth

ธุรกิจในส่วน Cash Cow คือ ช่องที่ 1 และ ช่องที่ 2 และธุรกิจในส่วน New Growth คือ ช่องที่ 3 และ ช่องที่ 4 ของ Transformer Map จากหนังสือ TRANSFORMER PLAYBOOK นั่นเอง

ช่องที่ 1 และ 2 

Current [Core Business] + Current [Market] + New [Market] 

ทรานส์ฟอร์มจากธุรกิจหลักที่มีในปัจจุบัน + ในตลาดปัจจุบันของคุณ + เข้าสู่ตลาดใหม่

ช่องที่ 3 และ 4 

New [Core Business] + Current [Market] + New [Market]

ทรานส์ฟอร์มด้วยการสร้างธุรกิจหลักใหม่ + ในตลาดปัจจุบันของคุณ + เข้าสู่ตลาดใหม่

โครงสร้างธุรกิจ SCBX จะดำเนินงานภายใต้ 3 ธุรกิจหลัก คือ 

แหล่งข้อมูลอ้างอิง: www.scb.co.th, www.idc.com, หนังสือ TRANSFORMER PLAYBOOK

ถอดรหัสการทรานส์ฟอร์มธุรกิจของ SCB ทีละขั้นตอนด้วยเครื่องมือ Digital Transformation Canvas ทั้ง 9 ช่อง ได้ดังนี้

20 บริษัทที่ดีที่สุด ผู้นำการการทรานส์ฟอร์มธุรกิจ ในภูมิภาพเอเชียแปซิฟิก ประจำปี 2023

GAC GROUP เจ้าของ AION ผู้นำรถยนต์ EV ของโลก เป็นบริษัทอันดับ 1 ที่ดีที่สุดในการทรานส์ฟอร์มธุรกิจของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ประจำปี 2023

10 บริษัทต้นแบบ การทำ Digital Transformation ของไทยประจำปี 2023

KBank องค์กรต้นแบบการทรานส์ฟอร์มธุรกิจของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและประเทศไทย

AWC องค์กรต้นแบบการทรานส์ฟอร์มธุรกิจของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและประเทศไทย

OUR SIGNATURE PROGRAM